ประเทศเอสโตเนีย
สาธารณรัฐเอสโตเนีย Eesti Vabariik (เอสโตเนีย) | |
---|---|
ที่ตั้งของ ประเทศเอสโตเนีย (เขียวเข้ม) – ในยุโรป (เขียว & เทาเข้ม) | |
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | ทาลลินน์a 59°25′N 24°45′E / 59.417°N 24.750°E |
ภาษาราชการ และภาษาประจำชาติ | เอสโตเนียb |
กลุ่มชาติพันธุ์ (2021) |
|
ศาสนา (ค.ศ. 2011[1]) |
|
การปกครอง | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐระบบรัฐสภา |
อาลาร์ การิส | |
กริสเต็น มีห์ฮัล | |
เลารี ฮุสซาร์ | |
สภานิติบัญญัติ | Riigikogu |
เอกราช | |
12 เมษายน ค.ศ. 1917 | |
• ประกาศ | 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918 |
2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920 | |
16 มิถุนายน ค.ศ. 1940 | |
1941–1944 | |
1944–1991 | |
20 สิงหาคม ค.ศ. 1991 | |
1 May 2004 | |
พื้นที่ | |
• รวม | 45,339[2] ตารางกิโลเมตร (17,505 ตารางไมล์) (อันดับที่ 129d) |
5.16 (ใน ค.ศ. 2015)[3] | |
ประชากร | |
• ค.ศ. 2021 ประมาณ | 1,330,068[4] |
• | 1,294,455[5] |
30.9 ต่อตารางกิโลเมตร (80.0 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 148) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | ค.ศ. 2021 (ประมาณ) |
• รวม | 49.644 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[6] |
• ต่อหัว | 41,892 ดอลลาร์สหรัฐ[6] (อันดับที่ 41) |
จีดีพี (ราคาตลาด) | ค.ศ. 2021 (ประมาณ) |
• รวม | 35.187 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[6] (อันดับที่ 97) |
• ต่อหัว | 27,101 ดอลลาร์สหรัฐ[6] (อันดับที่ 39) |
จีนี (ค.ศ. 2020) | 30.5[7] ปานกลาง |
เอชดีไอ (ค.ศ. 2019) | 0.892[8] สูงมาก · อันดับที่ 29 |
สกุลเงิน | ยูโร (€) (EUR) |
เขตเวลา | UTC+02:00 (เวลายุโรปตะวันออก) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+03:00 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก) |
ขับรถด้าน | ขวามือ |
รหัสโทรศัพท์ | +372 |
โดเมนบนสุด | .eec |
|
เอสโตเนีย (อังกฤษ: Estonia; เอสโตเนีย: Eesti, [ˈeːsʲti] ( ฟังเสียง)) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (อังกฤษ: Republic of Estonia; เอสโตเนีย: Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป
เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกใน พ.ศ. 2461 ก่อนจะถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรป
การเมืองการปกครอง
[แก้]นิติบัญญัติ
[แก้]สถาบันทางการเมืองเอสโตเนียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญระบบรัฐสภาเป็นระบบสภาเดียว เรียกว่า Saiema ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 100 คน โดยประธานาธิบดีจะเป็นผู้เสนอชื่อนายกรัฐมนตรีต่อรัฐสภา เพื่อลงมติให้ความไว้วางใจ ในการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ (พรรคการเมืองที่เข้าร่วมรัฐสภาต้องได้รับคะแนนเสียงเกินร้อยละ 4 จากการลงคะแนนเสียงทั่วประเทศ)
การแบ่งเขตการปกครอง
[แก้]- เทศมณฑลฮาร์ยู (Harju) มีเมืองหลักคือ ทาลลินน์
- เทศมณฑลฮีอู (Hiiu) มีเมืองหลักคือ แกร์ตลา
- เทศมณฑลอิตา-วิรู (Ida-Viru) มีเมืองหลักคือ เยอฮ์วี
- เทศมณฑลแยร์วา (Järva) มีเมืองหลักคือ ไปเต
- เทศมณฑลเยอเกวา (Jõgeva) มีเมืองหลักคือ เยอเกวา
- เทศมณฑลแลเน (Lääne) มีเมืองหลักคือ ฮาปซาลู
- เทศมณฑลแลเน-วิรู (Lääne-Viru) มีเมืองหลักคือ รักเวเร
- เทศมณฑลแปร์นู (Pärnu) มีเมืองหลักคือ ปาร์นู
- เทศมณฑลเปิลวา (Põlva) มีเมืองหลักคือ เปิลวา
- เทศมณฑลรัปลา (Rapla) มีเมืองหลักคือ รัปลา
- เทศมณฑลซาเร (Saare) มีเมืองหลักคือ กูเร็สซาเร
- เทศมณฑลตาร์ตู (Tartu) มีเมืองหลักคือ ตาร์ตู
- เทศมณฑลวัลกา (Valga) มีเมืองหลักคือ วัลกา
- เทศมณฑลวิลยันตี (Viljandi) มีเมืองหลักคือ วิลยันตี
- เทศมณฑลเวอรู (Võru) มีเมืองหลักคือ เวอรู
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "PHC 2011: over a quarter of the population are affiliated with a particular religion". Statistics Estonia. 29 April 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 November 2017. สืบค้นเมื่อ 9 January 2014.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ "Information About Estonia 2021". สืบค้นเมื่อ 10 September 2021.
- ↑ "Surface water and surface water change". Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). สืบค้นเมื่อ 2020-10-11.
- ↑ "Population at beginning of year". Statistics Estonia. 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-01. สืบค้นเมื่อ 2021-09-18.
- ↑ "PHC 2011 RESULTS". Statistics Estonia. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 October 2016. สืบค้นเมื่อ 26 January 2016.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 "Estonia". International Monetary Fund. 2021.
- ↑ "Gini coefficient of equivalised disposable income". EU-SILC survey. Eurostat. สืบค้นเมื่อ 9 August 2021.
- ↑ "2020 Human Development Report" (PDF). United Nations Development Programme. 2019. สืบค้นเมื่อ 15 December 2020.
เชิงอรรถ
[แก้]บรรณานุกรม
[แก้]- Jaak Kangilaski et al. (2005) Valge raamat (1940–1991) เก็บถาวร 2011-05-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Justiitsministeerium, ISBN 9985-70-194-1.
- IEA (2013). Estonia 2013. Energy Policies Beyond IEA Countries / Ukraine. Energy Policies Beyond IEA Countries. doi:10.1787/9789264190801-en. ISBN 978-92-6419079-5. ISSN 2307-0897.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Giuseppe D'Amato Travel to the Baltic Hansa เก็บถาวร 2011-05-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. The European Union and its enlargement to the East. Book in Italian. Viaggio nell'Hansa baltica. L'Unione europea e l'allargamento ad Est. Greco&Greco editori, Milano, 2004. ISBN 88-7980-355-7
- Hiden, John; Salmon, Patrick (1991). The Baltic Nations and Europe: Estonia, Latvia, and Lithuania in the Twentieth Century. London: Longman. ISBN 0-582-08246-3.
- Laar, Mart (1992). War in the Woods: Estonia's Struggle for Survival, 1944–1956. trans. Tiina Ets. Washington, D.C.: Compass Press. ISBN 0-929590-08-2.
- Lieven, Anatol (1993). The Baltic Revolution: Estonia, Latvia, Lithuania, and the Path to Independence. New Haven: Yale University Press. ISBN 0-300-05552-8.
- Meyendorff, Alexander Feliksovich (1922). Encyclopædia Britannica (12th ed.). London & New York: The Encyclopædia Britannica Company. . ใน Chisholm, Hugh (บ.ก.).
- Naylor, Aliide (2020). The Shadow in the East: Vladimir Putin and the New Baltic Front. London: I.B. Tauris. ISBN 9781788312523.
- Raun, Toivo U. (1987). Estonia and the Estonians. Stanford, Calif.: Hoover Institution Press, Stanford University. ISBN 0-8179-8511-5.
- Smith, David J. (2001). Estonia: Independence and European Integration. London: Routledge. ISBN 0-415-26728-5.
- Smith, Graham, บ.ก. (1994). The Baltic States: The National Self-determination of Estonia, Latvia, and Lithuania. New York: St. Martin's Press. ISBN 0-312-12060-5.
- Subrenat, Jean-Jacques, บ.ก. (2004). Estonia, identity and independence. Amsterdam & New York: Rodopi. ISBN 90-420-0890-3.
- Taagepera, Rein (1993). Estonia: Return to Independence. Boulder, Colo.: Westview Press. ISBN 0-8133-1199-3.
- Taylor, Neil (2004). Estonia (4th ed.). Chalfont St. Peter: Bradt. ISBN 1-84162-095-5.
- Williams, Nicola; Herrmann, Debra; Kemp, Cathryn (2003). Estonia, Latvia, and Lithuania (3rd ed.). London: Lonely Planet. ISBN 1-74059-132-1.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]รัฐบาล
[แก้]- ประธานาธิบดี
- รัฐสภา
- รัฐบาล
- กระทรวงการต่างประเทศ
- สำนักงานสถิติ
- Chief of State and Cabinet Members เก็บถาวร 20 กุมภาพันธ์ 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
การเดินทาง
[แก้]- Official gateway to Estonia เก็บถาวร 2010-08-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- E-Estonia Portal
- VisitEstonia Portal
- คู่มือการท่องเที่ยว ประเทศเอสโตเนีย จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)
แผนที่
[แก้]- google.com map of Estonia
- ดูข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ประเทศเอสโตเนีย ที่โอเพินสตรีตแมป
ข้อมูลทั่วไป
[แก้]- สารานุกรมเอสโตนิกา เก็บถาวร 2010-04-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สถาบันเอสโตเนีย
- Estonia. The World Factbook. Central Intelligence Agency.
- BBC News – Estonia country profile
- Estonia at UCB Libraries GovPubs
- Estonia ที่เว็บไซต์ Curlie
- Wikimedia Atlas of Estonia