พยาธิวิทยา
- Afrikaans
- Aragonés
- العربية
- مصرى
- Asturianu
- Azərbaycanca
- Беларуская
- Беларуская (тарашкевіца)
- Български
- বাংলা
- Brezhoneg
- Bosanski
- Català
- کوردی
- Čeština
- Cymraeg
- Dansk
- Deutsch
- English
- Esperanto
- Español
- Eesti
- Euskara
- فارسی
- Suomi
- Français
- Gaeilge
- Galego
- עברית
- हिन्दी
- Hrvatski
- Magyar
- Հայերեն
- Interlingua
- Bahasa Indonesia
- Ido
- Íslenska
- Italiano
- 日本語
- Jawa
- ქართული
- Қазақша
- ಕನ್ನಡ
- 한국어
- Kurdî
- Кыргызча
- Latina
- Limburgs
- Lietuvių
- Latviešu
- Македонски
- മലയാളം
- मराठी
- Bahasa Melayu
- မြန်မာဘာသာ
- नेपाली
- नेपाल भाषा
- Nederlands
- Norsk nynorsk
- Norsk bokmål
- पालि
- Polski
- پښتو
- Português
- Română
- Русский
- Sicilianu
- Scots
- Srpskohrvatski / српскохрватски
- සිංහල
- Simple English
- Slovenčina
- Slovenščina
- ChiShona
- Shqip
- Српски / srpski
- Sunda
- Svenska
- தமிழ்
- తెలుగు
- Тоҷикӣ
- Tagalog
- Türkçe
- Татарча / tatarça
- Українська
- اردو
- Tiếng Việt
- Winaray
- 吴语
- მარგალური
- 中文
- 閩南語 / Bân-lâm-gú
- 粵語
นี่เป็นรุ่นแก้ไขเก่าของหน้านี้ ที่แก้ไขโดย 2001:44c8:4242:49fb:a4e4:f564:111b:a6f0 (คุย) เมื่อ 11:09, 5 เมษายน 2567 ซึ่งอาจแตกต่างจากรุ่นแก้ไขปัจจุบันมาก |
พยาธิวิทยา (อังกฤษ: Pathology) เป็นการศึกษาและวินิจฉัยโรคจากการตรวจอวัยวะ, เนื้อเยื่อ, เซลล์, สารคัดหลั่ง, และจากทั้งร่างกายมนุษย์ (จากการชันสูตรพลิกศพ) พยาธิวิทยายังหมายถึงการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของการดำเนินโรค ซึ่งหมายถึงพยาธิวิทยาทั่วไป (General pathology) พยาธิวิทยาทางการแพทย์แบ่งออกเป็น 2 สาขาหลักๆ ได้แก่ พยาธิกายวิภาค (Anatomical pathology) และพยาธิวิทยาคลินิก (Clinical pathology) นอกจากการศึกษาในคนแล้ว ยังมีการศึกษาพยาธิวิทยาในสัตว์ (Veterinary pathology) และในพืช (Phytopathology) ด้วย
วิชาพยาธิวิทยามักถูกเข้าใจผิดว่าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับพยาธิหรือปรสิตเนื่องจากมีคำที่พ้องรูปกัน ซึ่งในความเป็นจริงวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพยาธิคือวิชาปรสิตวิทยา (Parasitology)
ส่วนผู้ที่มีอาชีพทางด้านพยาธิวิทยาเรียกว่าพยาธิแพทย์
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]หลักพยาธิวิทยา | โรค - การติดเชื้อ - การขาดเลือดเฉพาะที่ - การอักเสบ - การสมานแผล - เนื้องอก - โลหิตพลศาสตร์
การตายของเซลล์: การตายเฉพาะส่วน (Liquefactive necrosis, Coagulative necrosis, Caseous necrosis) - อะพอพโทซิส - Pyknosis - Karyorrhexis - Karyolysis การปรับตัวของเซลล์: การฝ่อ - การโตเกิน - การเจริญเกิน - การเจริญผิดปกติ - Metaplasia (Squamous, Glandular) การสะสมของสาร: สารสี (Hemosiderin, Lipochrome/Lipofuscin, เมลานิน) - Steatosis |
---|---|
พยาธิกายวิภาค | |
พยาธิวิทยาคลินิก |
| |||||||||
สาขาย่อย |
| ||||||||
ลำดับชั้นของสิ่งมีชีวิต |
| ||||||||
ฐานราก | |||||||||
หลักการ |
| ||||||||
อภิธาน |
บทความแพทยศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |