Nothing Special   »   [go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อนครในประเทศญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผนที่แสดงเมืองใหญ่ของญี่ปุ่น

หน้านี้รวบรวมรายชื่อนครในประเทศญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากร 60 อันดับแรก โดยอ้างอิงตามรายงานสรุปสำมะโนประชากรประจำปี ค.ศ. 2015 จากสำนักงานสถิติ กระทรวงกิจการภายในประเทศและการสื่อสารของประเทศญี่ปุ่น โดยตามรายงานสำมะโนประชากรฉบับนี้ ประเทศญี่ปุ่นมีประชากรในเขตเมืองรวม 116,137,232 คน 127,094,745 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 91.38 ของประชากรทั้งประเทศ[1]

เขตพิเศษของโตเกียวทั้ง 23 เขตจะพิจารณารวมเป็นนครโตเกียว อย่างไรก็ตาม มีเขตจำนวน 10 เขตที่มีจำนวนประชากรอยู่ระหว่างเมืองที่มีประชากรมากที่สุด 60 อันดับแรก เขตเหล่านี้จะแสดงในตารางนี้ด้วยโดยจะอยู่ในวงเล็บและไม่จัดอันดับร่วมกับเมือง

โตเกียว
ตึก Landmark Tower โยโกฮามะ
โอซากะ
ซัปโปโระ
โคเบะ
เกียวโต
ฟูกูโอกะ
คิตะกีวชู
ไซตามะ

รายชื่อนครในประเทศญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากร 60 อันดับแรก

[แก้]
อันดับ นคร จังหวัด ชื่อภาษาญี่ปุ่น ค.ศ. 2015 ค.ศ. 2010
1 โตเกียว (เฉพาะ 23 เขตพิเศษ) โตเกียว 東京 9,272,740 8,945,695
2 โยโกฮามะ คานางาวะ 横浜市 3,724,844 3,688,773
3 โอซากะ โอซากะ 大阪市 2,691,185 2,665,314
4 นาโงยะ ไอจิ 名古屋市 2,295,638 2,263,894
5 ซัปโปโระ ฮกไกโด 札幌市 1,952,356 1,913,545
6 ฟูกูโอกะ ฟูกูโอกะ 福岡市 1,538,681 1,463,743
7 โคเบะ เฮียวโงะ 神戸市 1,537,272 1,544,200
8 คาวาซากิ คานางาวะ 川崎市 1,475,213 1,425,512
9 เกียวโต เกียวโต 京都市 1,475,183 1,474,015
10 ไซตามะ ไซตามะ さいたま市 1,263,979 1,222,434
11 ฮิโรชิมะ ฮิโรชิมะ 広島市 1,194,034 1,173,843
12 เซ็นได มิยางิ 仙台市 1,082,159 1,045,986
13 ชิบะ ชิบะ 千葉市 971,882 961,749
14 คิตะกีวชู ฟูกูโอกะ 北九州市 961,286 976,846
เขตเซตางายะ โตเกียว 世田谷区 903,346 877,138
15 ซาไก โอซากะ 堺市 839,310 841,966
16 นีงาตะ นีงาตะ 新潟市 810,157 811,901
17 ฮามามัตสึ ชิซูโอกะ 浜松市 797,980 800,866
18 คูมาโมโตะ คูมาโมโตะ 熊本市 740,822 734,474
เขตเนริมะ โตเกียว 練馬区 721,722 716,124
19 ซางามิฮาระ คานางาวะ 相模原市 720,780 717,515
20 โอกายามะ โอกายามะ 岡山市 719,474 709,584
เขตโอตะ โตเกียว 大田区 717,082 693,373
21 ชิซูโอกะ ชิซูโอกะ 静岡市 704,989 716,197
เขตเอโดงาวะ โตเกียว 江戸川区 681,298 678,967
เขตอาดาจิ โตเกียว 足立区 670,122 683,426
22 ฟูนาบาชิ ชิบะ 船橋市 622,890 609,040
23 คาโงชิมะ คาโงชิมะ 鹿児島市 599,814 605,846
24 คาวางูจิ ไซตามะ 川口市 578,112 561,506
25 ฮาจิโอจิ โตเกียว 八王子市 577,513 580,053
เขตซูงินามิ โตเกียว 杉並区 563,997 549,569
เขตอิตาบาชิ โตเกียว 板橋区 561,916 535,824
26 ฮิเมจิ เฮียวโงะ 姫路市 535,664 536,270
27 อุตสึโนมิยะ โทจิงิ 宇都宮市 518,594 511,739
28 มัตสึยามะ เอฮิเมะ 松山市 514,865 517,231
29 ฮิงาชิโอซากะ โอซากะ 東大阪市 502,784 509,533
เขตโคโต โตเกียว 江東区 498,109 460,819
30 นิชิโนมิยะ เฮียวโงะ 西宮市 487,850 482,640
31 มัตสึโดะ ชิบะ 松戸市 483,480 484,457
32 อิจิกาวะ ชิบะ 市川市 481,732 473,919
33 โออิตะ โออิตะ 大分市 478,146 474,094
34 คูราชิกิ โอกายามะ 倉敷市 477,118 475,513
35 คานาซาวะ อิชิกาวะ 金沢市 465,699 462,361
36 ฟูกูยามะ ฮิโรชิมะ 福山市 464,811 461,357
37 อามางาซากิ เฮียวโงะ 尼崎市 452,563 453,748
เขตคัตสึชิกะ โตเกียว 葛飾区 442,913 442,586
38 มาจิดะ โตเกียว 町田市 432,348 427,016
39 นางาซากิ นางาซากิ 長崎市 429,508 443,766
40 ฟูจิซาวะ คานางาวะ 藤沢市 423,894 409,657
41 โทโยตะ ไอจิ 豊田市 422,542 421,487
42 ทากามัตสึ คางาวะ 高松市 420,748 419,429
43 โทยามะ โทยามะ 富山市 418,686 421,953
44 คาชิวะ ชิบะ 柏市 413,954 404,012
45 กิฟุ กิฟุ 岐阜市 406,735 413,136
46 โยโกซูกะ คานางาวะ 横須賀市 406,586 418,325
47 ฮิรากาตะ โอซากะ 枚方市 404,152 407,978
48 มิยาซากิ มิยาซากิ 宮崎市 401,138 400,583
49 โทโยนากะ โอซากะ 豊中市 395,479 389,341
เขตชินางาวะ โตเกียว 品川区 386,855 365,302
50 โอกาซากิ ไอจิ 岡崎市 381,051 372,357
51 อิจิโนมิยะ ไอจิ 一宮市 380,868 378,566
52 นางาโนะ นางาโนะ 長野市 377,598 381,511
53 โทโยฮาชิ ไอจิ 豊橋市 374,765 376,665
54 ซูอิตะ โอซากะ 吹田市 374,468 355,798
55 ทากาซากิ กุมมะ 高崎市 370,884 371,302
56 วากายามะ วากายามะ 和歌山市 364,154 370,364
57 นาระ นาระ 奈良市 360,310 366,591
58 ทากัตสึกิ โอซากะ 高槻市 351,829 357,359
59 คาวาโงเอะ ไซตามะ 川越市 350,745 342,670
60 อิวากิ ฟูกูชิมะ いわき市 350,237 342,249

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Population, Population Change(2010-2015), Area, Population Density, Households and Households Change(2010-2015) - Japan*, All Shi, All Gun, Prefectures*, All Shi of Prefectures, All Gun of Prefectures, Shi*, Ku*, Machi*, Mura* and Municipalities in 2000 (.csv) (Report) (ภาษาญี่ปุ่น). สำนักงานสถิติ กระทรวงกิจการภายในประเทศและการสื่อสาร. 16 ธันวาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2019.