ภาษาเปเชเนก
หน้าตา
ภาษาเปเชเนก | |
---|---|
ภูมิภาค | ยุโรปกลาง, ยุโรปตะวันออก |
ยุค | คริสต์ศตวรรษที่ 7–12[1] |
ตระกูลภาษา | เตอร์กิก
|
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | xpc |
นักภาษาศาสตร์ | xpc |
ภาษาเปเชเนก (Pecheneg language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดโดยชาวเปเชเนกในยุโรปตะวันออก (ส่วนหนึ่งของยูเครนใต้, รัสเซียใต้, มอลโดวา, โรมาเนีย และฮังการี) ในคริสต์ศตวรรษที่ 7–12 อันนา คอมเนเน เจ้าหญิงแห่งไบแซนไทน์ระบุว่าชาวเปเชเนกและCumansพูดภาษาเดียวกัน[2]
ภาษานี้มีลักษณะคล้ายกับภาษากลุ่มโอคุซที่เป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มเตอร์กิก[3] แต่มีหลักฐานหลงเหลืออยู่น้อย นักภาษาศาสตร์จัดให้อยู่ในภาษากลุ่มโปรโต-คัสเปียนซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มเคียปชัก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ภาษาเปเชเนก at MultiTree on the Linguist List
- ↑ Howorth, Henry Hoyle (1880). "History of the Mongols". Google Books. สืบค้นเมื่อ 15 May 2016.
- ↑ Баскаков, Н. А. Тюркские языки, Москва 1960, с. 126-131.