ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โสม"
ล →การจำแนก: อ้างอิงที่ใส่มาเสีย ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560 |
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: ทำกลับ |
||
(ไม่แสดง 20 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 10 คน) | |||
บรรทัด 38: | บรรทัด 38: | ||
* '''โสมแดง''' คือโสมขาวที่นำไปผ่านวิธีการอบ เพื่อให้มีสรรพคุณทางยามากขึ้น ลักษณะของรากจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอมแดง และมีความชื้นเล็กน้อย โสมแดงนี้ถือว่ามีคุณค่าทางยามากที่สุดและราคาแพง |
* '''โสมแดง''' คือโสมขาวที่นำไปผ่านวิธีการอบ เพื่อให้มีสรรพคุณทางยามากขึ้น ลักษณะของรากจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอมแดง และมีความชื้นเล็กน้อย โสมแดงนี้ถือว่ามีคุณค่าทางยามากที่สุดและราคาแพง |
||
ส่วนโสมในปัจจุบันที่ใช้กันโดยทั่วไปนั้น จะเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากการนำโสมแดงและโสมขาวมาทำ เช่น โสมสกัด โสมเม็ด โสมผง หรือใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องสำอาง |
ส่วนโสมในปัจจุบันที่ใช้กันโดยทั่วไปนั้น จะเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากการนำโสมแดงและโสมขาวมาทำ เช่น โสมสกัด โสมเม็ด โสมผง หรือใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องสำอาง |
||
== ประโยชน์ == |
|||
สารอะแดปโทเจน (adaptogen) ในโสม มีคุณสมบัติลดความเครียด ช่วยปรับสภาพร่างกายและจิตใจให้ทนต่อภาวะต่าง ๆ ได้มากขึ้น และยังช่วยลดความเมื่อยล้า โดยกระตุ้นให้เซลล์ในร่างกายสร้างพลังงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยให้ร่างกายรู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า และกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้แข็งแรงมากขึ้น นอกเหนือจากสรรพคุณที่ได้กล่าวมาแล้วยังมีรายงานผลการวิจัยของโสมเพิ่มเติมอีกดังต่อไปนี้ |
|||
* กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้แข็งแรง โดยการสร้างสารอินเตอร์ฟีรอน (interferon) ซึ่งเป็นสารต้านเชื้อไวรัส และกระตุ้นการสร้างโปรตีนอินเตอร์ลูคิน-1 (Interleukin-1) |
|||
* โสมมีส่วนช่วยเพิ่มการสร้างพลังงาน ทำให้นักกีฬามีความทนทานต่อการออกกำลังหนักได้ดีขึ้น และทำให้สามารถนำพาออกซิเจนไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น |
|||
* ช่วยบรรเทาอาการร้อนวูบวาบในหญิงวัยหมดประจำเดือนหรืออาการวัยทอง |
|||
* ลดการหลั่งฮอร์โมนที่ทำให้เกิดความเครียดจากต่อมหมวกไต |
|||
* ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ |
|||
* ช่วยฟื้นฟูและเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ อาจถือได้ว่าเป็นไวอะกร้าธรรมชาติ |
|||
* ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเป็นปกติ |
|||
* ลดระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับมาตรฐาน |
|||
* ลดอาการข้างเคียงจากการฉายรังสี<ref> |
|||
[http://www.oknation.net/blog/Thai-Herbal/2008/10/24/entry-1 ความจริงของโสม]</ref> |
|||
== การจำแนก == |
== การจำแนก == |
||
คำว่า ''Panax'' มีรากศัพท์มาจาก[[ภาษากรีก]]แปลว่า "รักษาได้สารพัดโรค"<ref> |
คำว่า ''Panax'' มีรากศัพท์มาจาก[[ภาษากรีก]]แปลว่า "รักษาได้สารพัดโรค"<ref>{{cite web|url=https://wellcomelibrary.org/item/b21132045#?c=0&m=0&s=0&cv=0&z=-1.1819%2C-0.0851%2C3.3638%2C1.702|title=Interesting history of the Panax (Quinquefolium) of Linnaeus, the ginseng of the Chinese, from the archives of history and medical science|work=wellcomelibrary.org|author=National Library of Medicine (U.S.)|date=1851|access-date=19 November 2019}}</ref> |
||
* ''[[Panax ginseng]]'' <small>C.A. Mey.</small> – โสมจีน |
* ''[[Panax ginseng]]'' <small>C.A. Mey.</small> – โสมจีน |
||
บรรทัด 61: | บรรทัด 47: | ||
* ''[[โสมอเมริกัน|Panax quinquefolius]]'' <small>L.</small> – โสมอเมริกา |
* ''[[โสมอเมริกัน|Panax quinquefolius]]'' <small>L.</small> – โสมอเมริกา |
||
* ''[[Panax trifolius]]'' <small>L.</small> – โสมแคระ<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=29398 จาก itis.gov]</ref> |
* ''[[Panax trifolius]]'' <small>L.</small> – โสมแคระ<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=29398 จาก itis.gov]</ref> |
||
* ''[[โสมเวียดนาม|Panax vietnamensis]]'' <small>Ha & Grushv.</small> – โสมเวียดนาม |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
||
{{รายการอ้างอิง}} |
{{รายการอ้างอิง}} |
||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
||
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Panax|โสม}} |
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Panax|โสม}} |
||
บรรทัด 73: | บรรทัด 61: | ||
[[หมวดหมู่:วงศ์เล็บครุฑ]] |
[[หมวดหมู่:วงศ์เล็บครุฑ]] |
||
[[หมวดหมู่:สมุนไพรจีน]] |
[[หมวดหมู่:สมุนไพรจีน]] |
||
[[หมวดหมู่:รายชื่อพรรณไม้ในประเทศไทย]] |
|||
{{โครงพืช}} |
{{โครงพืช}} |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 01:37, 18 เมษายน 2567
โสม | |
---|---|
รากโสมเกาหลี | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
หมวด: | Magnoliophyta |
ชั้น: | Magnoliopsida |
อันดับ: | Apiales |
วงศ์: | Araliaceae |
สกุล: | Panax L. |
ชนิดต้นแบบ | |
P. quinquefolius L. [1] | |
ชนิด | |
| |
ชื่อพ้อง[1] | |
|
โสม เป็นพืชในสกุล Panax ในวงศ์เล็บครุฑ (Araliaceae) โตได้ในซีกโลกเหนือในทวีปเอเชียและทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติ
[แก้]โสม เป็นพืชสมุนไพรโบราณ มีหลากหลายสายพันธุ์แตกต่างกันไปตามแต่สถานที่เพาะปลูก เช่น โสมจีน โสมเกาหลี โสมอเมริกา แรกเริ่มเดิมทีนั้นการใช้โสมถูกบันทึกไว้ในตำรับยาแพทย์แผนจีนหลายพันปีก่อน เชื่อกันว่าโสมในยุคแรกที่มีการนำมาใช้คือโสมป่า ที่ขุดได้จากทางตอนเหนือของจีน มีรูปร่างของรากคล้ายกับคน (หยิ่งเซียม) และมีการใช้โสมแพร่หลายออกไปยังเกาหลี โสมเกาหลี (โสมโครยอ) และอีกหลากสายพันธุ์จากฝั่งอเมริกา ในสมัยก่อนโสมนั้นมีราคาแพงมาก เนื่องจากโสมป่านั้นเป็นของหายาก
ต้นโสม
[แก้]โสมเป็นพืชล้มลุกที่ปลูกยาก ต้องปลูกในที่ที่มีอากาศเย็นสม่ำเสมอ ไกลจากทะเล และดินและน้ำไม่มีมลพิษ มีรากลึกประมาณ 1 ฟุต ลำต้นสูงประมาณ 1 เมตร โสมทางฝั่งเอเชียนิยมเพาะปลูกกันทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน และในประเทศเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ส่วนโสมอเมริกาจะมาจากวิสคอนซิน หรือแคนาดา ปัจจุบันมีการเพาะปลูกโสมกันในเชิงพาณิชย์ เนื่องจากโสมป่าเป็นของที่หายากแล้ว
ชนิด
[แก้]เรานิยมนำโสมมาใช้เฉพาะส่วนของรากที่อยู่ลงไปใต้ดิน โสมที่ขุดนำมาใช้ได้นั้นจะมีอายุตั้งแต่ 3–6 ปี ซึ่งโสมอายุ 6 ปีจะเป็นโสมที่ถือว่ามีตัวยาสำคัญมากที่สุด โดยโสมแบ่งได้ 2 ชนิด คือ
- โสมขาว คือโสมสดที่ขุดขึ้นมาจากดิน ล้างทำความสะอาด สามารถนำไปใช้ได้ทันที อาจนำไปตากแห้งให้น้ำระเหยออกไปเพื่อให้เก็บรักษาไว้ใช้ได้นานขึ้น ใช้เป็นส่วนผสมของยาจีนและทำอาหารได้
- โสมแดง คือโสมขาวที่นำไปผ่านวิธีการอบ เพื่อให้มีสรรพคุณทางยามากขึ้น ลักษณะของรากจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอมแดง และมีความชื้นเล็กน้อย โสมแดงนี้ถือว่ามีคุณค่าทางยามากที่สุดและราคาแพง
ส่วนโสมในปัจจุบันที่ใช้กันโดยทั่วไปนั้น จะเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ได้จากการนำโสมแดงและโสมขาวมาทำ เช่น โสมสกัด โสมเม็ด โสมผง หรือใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องสำอาง
การจำแนก
[แก้]คำว่า Panax มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกแปลว่า "รักษาได้สารพัดโรค"[2]
- Panax ginseng C.A. Mey. – โสมจีน
- Panax japonicus (T. Nees) C.A. Mey. – โสมญี่ปุ่น
- Panax pseudoginseng Wall. – ซานชี, เถียนซี
- Panax quinquefolius L. – โสมอเมริกา
- Panax trifolius L. – โสมแคระ[3]
- Panax vietnamensis Ha & Grushv. – โสมเวียดนาม
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Farr, E. R. & Zijlstra, G. eds. (1996-) Index Nominum Genericorum (Plantarum). 2009 Dec 23 [1].
- ↑ National Library of Medicine (U.S.) (1851). "Interesting history of the Panax (Quinquefolium) of Linnaeus, the ginseng of the Chinese, from the archives of history and medical science". wellcomelibrary.org. สืบค้นเมื่อ 19 November 2019.
- ↑ จาก itis.gov
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Panax ที่วิกิสปีชีส์