Nothing Special   »   [go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเวเนซุเอลา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
KengSiri (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 183: บรรทัด 183:
== เศรษฐกิจ ==
== เศรษฐกิจ ==
=== โครงสร้างเศรษฐกิจ ===
=== โครงสร้างเศรษฐกิจ ===
*ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP) : 402.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
*[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]] (GDP) : 402.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)


*GDP รายบุคคล : 13,200 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
*GDP รายบุคคล : 13,200 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
บรรทัด 220: บรรทัด 220:


=== อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ===
=== อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ===
สำหรับภาคอุตสาหกรรมการผลิต (manufacturing) (คิดเป็นร้อยละ 17 ของ GDP ของเวเนซุเอลา) ยังไม่อยู่ในสภาพแข่งขันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตเพื่อการส่งออก ยกเว้นอุตสาหกรรมการลงทุนภาครัฐที่ใช้เงินทุนสูง แม้ว่าในปี ค.ศ. 2005 มีอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 9 แต่ยังคงขาดแคลนการลงทุนจากภาคเอกชน ทั้งนี้ ผลิตผลที่สำคัญ ได้แก่ เหล็กกล้า อลูมินั่ม สิ่งทอ เสื้อผ้า เครื่องดื่ม และอาหาร สำหรับภาคอุตสาหกรรมการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 5 ของ GDP และร้อยละ 10 ของการจ้างงาน โดยผลิตผลทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ข้าว ยาสูบ ปลา ผลไม้เมืองร้อน (tropical fruits) กาแฟ โกโก้ (ในช่วงทศวรรษที่ 1960s และ 1970s เวเนซุเอลาเคยเป็นประเทศผู้ผลิตกาแฟ และโกโก้รายใหญ่ของโลก แต่ในปัจจุบันเวเนซุเอลาผลิตกาแฟเพียงประมาณร้อยละ 1 ของปริมาณกาแฟโลกและส่วนมากเพื่อการบริโภคภายในประเทศ) ทั้งนี้ เนื่องจากการหันเหความสนใจมายังอุตสาหกรรมน้ำมันที่สร้างรายได้หลักให้กับประเทศ อย่างไรก็ดี ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาได้มีความพยายามที่จะฟื้นฟูการปลูกและผลิตโกโก้ในเวเนซุเอลา (โกโก้ของเวเนซุเอลาบางชนิดได้ชื่อว่าเป็นโกโก้ที่ดีและมีกลิ่นหอมที่สุดในโลก และใช้สำหรับการผลิตช็อคโกแลตแท้ชั้นดีเท่านั้น)
สำหรับภาค[[อุตสาหกรรมการผลิต]] (manufacturing) (คิดเป็นร้อยละ 17 ของ GDP ของเวเนซุเอลา) ยังไม่อยู่ในสภาพแข่งขันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตเพื่อการส่งออก ยกเว้นอุตสาหกรรมการลงทุนภาครัฐที่ใช้เงินทุนสูง แม้ว่าในปี ค.ศ. 2005 มีอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 9 แต่ยังคงขาดแคลนการลงทุนจากภาคเอกชน ทั้งนี้ ผลิตผลที่สำคัญ ได้แก่ เหล็กกล้า อลูมินั่ม สิ่งทอ เสื้อผ้า เครื่องดื่ม และอาหาร สำหรับภาคอุตสาหกรรมการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 5 ของ GDP และร้อยละ 10 ของการจ้างงาน โดยผลิตผลทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ข้าว ยาสูบ ปลา ผลไม้เมืองร้อน (tropical fruits) กาแฟ โกโก้ (ในช่วงทศวรรษที่ 1960s และ 1970s เวเนซุเอลาเคยเป็นประเทศผู้ผลิตกาแฟ และโกโก้รายใหญ่ของโลก แต่ในปัจจุบันเวเนซุเอลาผลิตกาแฟเพียงประมาณร้อยละ 1 ของปริมาณกาแฟโลกและส่วนมากเพื่อการบริโภคภายในประเทศ) ทั้งนี้ เนื่องจากการหันเหความสนใจมายังอุตสาหกรรมน้ำมันที่สร้างรายได้หลักให้กับประเทศ อย่างไรก็ดี ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาได้มีความพยายามที่จะฟื้นฟูการปลูกและผลิตโกโก้ในเวเนซุเอลา (โกโก้ของเวเนซุเอลาบางชนิดได้ชื่อว่าเป็นโกโก้ที่ดีและมีกลิ่นหอมที่สุดในโลก และใช้สำหรับการผลิตช็อคโกแลตแท้ชั้นดีเท่านั้น)
เวเนซุเอลายังไม่สามารถผลิตสินค้าเกษตรได้พอเพียงกับความต้องการภายในประเทศ ยังคงต้องนำเข้าสินค้าเกษตร เช่น ข้าวสาลี ข้าวโพด ถั่วเหลือง อาหารที่ทำจากถั่วเหลือง ฝ้าย ไขมันจากสัตว์ น้ำมันพืช ส่วนใหญ่นำเข้าจากสหรัฐฯ และโคลอมเบีย นอกจากนั้น การพึ่งพาการส่งออกน้ำมันทำให้เวเนซุเอลาได้รับผลกระทบจากความผันผวนทางเศรษฐกิจโลก หากราคาน้ำมันสูง นโยบายการใช้จ่ายงบประมาณจะมากขึ้นด้วย
เวเนซุเอลายังไม่สามารถผลิตสินค้าเกษตรได้พอเพียงกับความต้องการภายในประเทศ ยังคงต้องนำเข้าสินค้าเกษตร เช่น ข้าวสาลี ข้าวโพด ถั่วเหลือง อาหารที่ทำจากถั่วเหลือง ฝ้าย ไขมันจากสัตว์ น้ำมันพืช ส่วนใหญ่นำเข้าจากสหรัฐฯ และโคลอมเบีย นอกจากนั้น การพึ่งพาการส่งออกน้ำมันทำให้เวเนซุเอลาได้รับผลกระทบจากความผันผวนทางเศรษฐกิจโลก หากราคาน้ำมันสูง นโยบายการใช้จ่ายงบประมาณจะมากขึ้นด้วย

รัฐบาลเวเนซุเอลามีนโยบายไม่เห็นด้วยกับการจัดทำ Free Trade Area of the Americas (FTAA) แต่มีนโยบายส่งเสริมบูรณาการภายในภูมิภาคอเมริกาใต้ ทั้งนี้ เวเนซุเอลาได้ลงนามในความตกลง Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of Our America and the Peoples’ Trade Agreements (ALBA) กับคิวบาและโบลิเวียเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 2005 และเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 2006 ตามลำดับ โดยหวังว่า ความตกลง ALBA จะเป็นแนวทางการรวมตัวทางเศรษฐกิจและความร่วมมือในภูมิภาคตามแนวความคิดแบบสังคมนิยมและจะเป็นทางเลือกแทนการจัดทำความตกลงการค้าเสรีของภูมิภาคอเมริกาใต้ซึ่งมีสหรัฐฯ เป็นผู้สนับสนุนที่สำคัญ
รัฐบาลเวเนซุเอลามีนโยบายไม่เห็นด้วยกับการจัดทำ Free Trade Area of the Americas (FTAA) แต่มีนโยบายส่งเสริมบูรณาการภายในภูมิภาคอเมริกาใต้ ทั้งนี้ เวเนซุเอลาได้ลงนามในความตกลง Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of Our America and the Peoples’ Trade Agreements (ALBA) กับคิวบาและโบลิเวียเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 2005 และเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 2006 ตามลำดับ โดยหวังว่า ความตกลง ALBA จะเป็นแนวทางการรวมตัวทางเศรษฐกิจและความร่วมมือในภูมิภาคตามแนวความคิดแบบสังคมนิยมและจะเป็นทางเลือกแทนการจัดทำความตกลงการค้าเสรีของภูมิภาคอเมริกาใต้ซึ่งมีสหรัฐฯ เป็นผู้สนับสนุนที่สำคัญ


=== แหล่งพลังงานน้ำมัน และ ปิโตรเลียม ===
=== แหล่งพลังงานน้ำมัน และ ปิโตรเลียม ===
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}
เศรษฐกิจพึ่งพิงการผลิตและส่งออกปิโตรเลียมนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1920 โดยคิดเป็นร้อยละ 25 ของ GDP (ปี 2548) ทั้งนี้ รายได้จากการส่งออกน้ำมันคิดเป็นกว่าร้อยละ 80 ของรายได้จากการส่งออกทั้งหมด ในอดีตเวเนซุเอลาเปิดให้มีการลงทุนจากต่างประเทศในภาคอุตสาหกรรมปิโตรเลียม แต่เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2001 รัฐบาลของประธานาธิบดี Chávez ได้ออกกฎหมาย Hydrocarbons Law ฉบับใหม่ กำหนดให้กิจการการผลิตและการจำหน่ายน้ำมันเป็นของรัฐบาลเวเนซุเอลา และเอกชนไม่สามารถถือหุ้นในกิจการดังกล่าวได้เกินกว่าร้อยละ 50 ทั้งนี้ กิจการในภาคอุตสาหกรรมน้ำมันของเวเนซุเอลาดำเนินการโดยรัฐวิสาหกิจน้ำมัน Petroleos de Venezuela (PDVSA) ทั้งนี้ เวเนซุเอลาเป็น 1 ใน 5 ประเทศผู้ก่อตั้ง OPEC ซึ่ง้เวเนซุเอลาตอนนี้มีปริมาณ แหล่งพลังงานน้ำมัน และ ปิโตรเลียม นํ้ามันสำรองมากกว่าซาอุดิอาราเบียและส่งออกเป็นอันดับที่ 11ของโลก
เศรษฐกิจพึ่งพิงการผลิตและส่งออก[[ปิโตรเลียม]]นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1920 โดยคิดเป็นร้อยละ 25 ของ GDP (ปี 2548) ทั้งนี้ รายได้จากการส่งออกน้ำมันคิดเป็นกว่าร้อยละ 80 ของรายได้จากการส่งออกทั้งหมด ในอดีตเวเนซุเอลาเปิดให้มีการลงทุนจากต่างประเทศในภาคอุตสาหกรรมปิโตรเลียม แต่เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2001 รัฐบาลของประธานาธิบดี Chávez ได้ออกกฎหมาย Hydrocarbons Law ฉบับใหม่ กำหนดให้กิจการการผลิตและการจำหน่ายน้ำมันเป็นของรัฐบาลเวเนซุเอลา และเอกชนไม่สามารถถือหุ้นในกิจการดังกล่าวได้เกินกว่าร้อยละ 50 ทั้งนี้ กิจการในภาคอุตสาหกรรมน้ำมันของเวเนซุเอลาดำเนินการโดยรัฐวิสาหกิจน้ำมัน Petroleos de Venezuela (PDVSA) ทั้งนี้ เวเนซุเอลาเป็น 1 ใน 5 ประเทศผู้ก่อตั้ง OPEC ซึ่งเวเนซุเอลาตอนนี้มีปริมาณ แหล่งพลังงานน้ำมัน และ ปิโตรเลียม นํ้ามันสำรองมากกว่าซาอุดิอาราเบียและส่งออกเป็นอันดับที่ 11 ของโลก


*ท่อขนส่งน้ำมัน และ ปิโตรเลียม
*ท่อขนส่งน้ำมัน และ ปิโตรเลียม

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:43, 5 กรกฎาคม 2559

สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา1

República Bolivariana de Venezuela (สเปน)1
ที่ตั้งของเวเนซุเอลา
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
การากัส
ภาษาราชการภาษาสเปน
การปกครองสหพันธ์สาธารณรัฐ
นีโกลัส มาดูโร
ฮอร์เฮ อาร์เรอาซา
ได้รับเอกราชจากสเปน
• ประกาศ
5 กรกฎาคม พ.ศ. 2354
• เป็นที่ยอมรับ
30 มีนาคม พ.ศ. 2388
พื้นที่
• รวม
916,445 ตารางกิโลเมตร (353,841 ตารางไมล์) (32)
0.3
ประชากร
• ก.ค. 2548 ประมาณ
26,749,000 (43)
• สำมะโนประชากร 2544
23,054,210
27 ต่อตารางกิโลเมตร (69.9 ต่อตารางไมล์) (145)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2548 (ประมาณ)
• รวม
164.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (50)
6,354 ดอลลาร์สหรัฐ (95)
เอชดีไอ (2556)0.764
สูง · 67
สกุลเงินโบลีวาร์ (VEB)
เขตเวลาUTC-4 (AST)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
ไม่มี
รหัสโทรศัพท์58
โดเมนบนสุด.ve
1"สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา" เป็นชื่อทางการและชื่อเต็มของประเทศตั้งแต่ได้ประกาศใช้ในรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2542 เพื่อเป็นเกียรติแก่ ซีมอน โบลีวาร์ (Simón Bolívar)

ประเทศเวเนซุเอลา (สเปน: Venezuela, เบ-เน-ซเว-ลา) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา (อังกฤษ: Bolivarian Republic of Venezuela, สเปน: República Bolivariana de Venezuela) เป็นประเทศบนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันออก จรดบราซิลทางทิศใต้ และจรดกายอานาทางทิศตะวันออก

เวเนซุเอลามีดินแดนราว 916,445 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรโดยประมาณ 29,105,632 คน เวเนซุเอลาถูกพิจารณาว่าเป็นรัฐที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงอย่างยิ่ง โดยถิ่นที่อยู่มีตั้งแต่เทือกเขาแอนดีสทางตะวันตกไปถึงป่าฝนแอ่งแอมะซอนทางใต้ ผ่านที่ราบยาโนสอันกว้างใหญ่และชายฝั่งแคริบเบียนในตอนกลางและสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโอรีโนโกทางตะวันออก

เวเนซุเอลาเป็นสหพันธรัฐที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ประกอบด้วย 23 รัฐ, แคปิทอลดิสตริกท์ (Capital District) ซึ่งมีกรุงการากัส และเฟเดอรัลดีเพนเดนซี (Federal Dependency) ซึ่งประกอบด้วยหมู่เกาะนอกชายฝั่งเวเนซุเอลา เวเนซุเอลาอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนทั้งหมดของกายอานาที่อยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเอสกวีโบ ซึ่งผืนดิน 159,500 ตารางกิโลเมตรนี้ถูกตั้งฉายาว่า กายอานาเอสกวีบา หรือ "เขตที่ถูกเรียกร้องคืน"

เวเนซุเอลาเป็นหนึ่งในประเทศที่กลายเป็นเมืองที่สุดในละตินอเมริกา ชาวเวเนซุเอลาส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในนครทางเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กรุงการากัส เมืองหลวงของประเทศ ซึ่งเป็นนครใหญ่สุดเช่นกัน นับแต่การค้นพบน้ำมันในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เวเนเซุเอลากลายเป็นหนึ่งในประเทศผู้ส่งออกน้ำมันของโลก และมีน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุด จากเดิมที่เวเนซุเอลาเป็นประเทศด้อยพัฒนาที่ส่งออกโภคภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น กาแฟและโกโก้ แต่น้ำมันขึ้นมาครองการส่งออกและรายได้ภาครัฐอย่างรวดเร็ว ปริมาณน้ำมันที่มากเกินความต้องการในคริสต์ทศวรรษ 1980 นำไปสู่วิกฤตหนี้สินภายนอกและวิกฤตเศรษฐกิจอันยาวนาน ซึ่งเงินเฟ้อแตะ 100% ในปี 2539 และอัตราความยากจนพุ่งแตะ 66% ในปี 2538 โดยที่ในปี 2541 จีดีพีต่อหัวร่วงลงอยู่ระดับเดียวกับปี 2506 หรือลดลงหนึ่งในสามจากจุดสูงสุดในปี 2521 การฟื้นตัวของราคาน้ำมันหลังปี 2544 กระตุ้นเศรษฐกิจเวเนซูเอลาและอำนวยการบริโภคทางสังคม แม้ผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลกปี 2551 จะทำให้เกิดเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหม่ อย่างไรก็ดี จนถึงปี 2553 เศรษฐกิจเวเนซูเอลากลับมาเติบโตอีกครั้ง เวเนซุเอลายังได้อ้างว่าตนตั้งอยู่ในตะวันออกกลางและสันนิบาตอาหรับ

ภูมิศาสตร์

ตามสภาพภูมิศาสตร์นั้น เวเนซุเอลาแบ่งออกได้เป็น 4 ตอน กล่าวคือ ตอนที่เป็นที่ราบต่ำรอบทะเลสาบมาราไคโบ (Maracaibo) ตอนที่ราบสูงทางเหนือ ตอนที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำโอริโนโค (Orinoco) และที่ราบสูงเดียนา (Diana)

ประวัติศาสตร์

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

อาณานิคมสเปน

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้เดินทางมาถึงประเทศเวเนซูเอลลาเมื่อปี ค.ศ. 1498 พื้นที่ตรงนี้มีคนพื้นเมือง หลายเผ่า อาศัยอยู่ เช่นเผ่า อาราวัก คาริบ และชิบชา โคลัมบัสได้ยึดดินแดนแห่งนี้เป็นเมืองขึ้นของสเปนและตั้ง ชื่อดินแดน ที่เดินทาง มาถึงนี้ว่า เวเนซูเอลลา ซึ่งแปลว่า เวนิสน้อยเพราะมีภูมิประเทศคล้ายกับเมืองเวนิส

เมืองหลวงคาราคัสได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1567 ซิมอน โบลิวาร์เกิดในเมืองหลวงนี้ เมื่อปี ค.ศ. 1783 และเขาเป็นบุคคลแรกในทวีปอเมริกาใต้ที่จับอาวุธลุกขึ้นสู้เพื่อกู้เอกราชของชาวลาตินอเมริกาจากแอกของนักล่าอาณานิคมชาวสเปนในปี ค.ศ. 1818 และได้รับเอกราชในปี 1821 โดยใช้เวลาเพียง 11 ปีเท่านั้น

ประกาศเอกราช

เมื่อได้รับเอกราชเขาได้ประกาศเป็นสหภาพมหาโคลัมเบียโดยรวมประเทศเข้ากับประเทศโคลัมเบีย และ เอควาดอร์ แต่ต่อมาในปี 1830 ก็แยกประเทศออกมาเป็นประเทศสาธารณรัฐต่างหากมาจนถึงทุกวันนี้

ศตวรรษที่ 19

ศตวรรษที่ 20

การเมืองการปกครอง

รูปแบบการปกครอง สหพันธ์สาธารณรัฐ (Federal Republic) ประกอบด้วย 1 เขตนครหลวง (federal district) 2 federal territories และ 72 federal dependencies

บริหาร

ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขของรัฐและหัวหน้าคณะรัฐบาล รวมถึงเป็นผู้แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งในระบบคะแนนนิยม วาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี (ไม่กำหนดวาระ สามารถดำรงตำแหน่งได้หากได้รับการเลือกตั้งต่อไป)

ที่ทำการประธานาธิบดี : ทำเนียบประธานาธิบดีมิราโฟลเรส (Miraflores Palace)

นิติบัญญัติ

ระบบสภาเดียว (Unicameral National Assembly หริอ Asamblea Nacional) จำนวน 165 ที่นั่ง สมาชิกมาจากการเลือกตั้งระบบคะแนนนิยม วาระ 5 ปี อีก 3 ที่นั่งสำหรับชนพื้นเมืองของประเทศ)

ตุลาการ

ศาลสูงสุดเรียกว่า Supreme Tribunal of Justice หรือ Tribunal Supremo de Justicia มีผู้พิพากษา 32 คน มาจากการเลือกตั้งโดยรัฐสภา (National Assembly) วาระการดำรงตำแหน่ง 12 ปี

การบังคับใช้กฎหมาย

ระบบกฎหมาย : ระบบประมวลกฎหมาย ที่มีรากฐานมาจากระบบกฎหมายของสเปน

สถานการณ์สำคัญ

สิทธิมนุษยชน

การแบ่งเขตการปกครอง

เวเนซุเอลาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น

  • 23 รัฐ (states - estados)
  • แคพิทอลดิสตริกต์ (Capital District - Distrito Capital) ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงการากัส และ
  • เฟเดอรัลดีเพนเดนซีส์* (Federal Dependencies - Dependencias Federales)
    แผนที่เขตการปกครองของเวเนซุเอลา
เขตการปกครอง เมืองหลวง เขตการปกครอง เมืองหลวง
1) รัฐอามาโซนัส ปวยร์โตไออากูโช 13) รัฐเมรีดา เมรีดา
2) รัฐอันโซอาเตกี บาร์เซโลนา 14) รัฐมีรันดา โลสเตเกส
3) รัฐอาปูเร ซันเฟร์นันโดเดอาปูเร 15) รัฐโมนากัส มาตูริง
4) รัฐอารากวา มาราไก 16) รัฐนวยวาเอสปาร์ตา ลาซูนซีออง
5) รัฐบารีนัส บารีนัส 17) รัฐโปร์ตูเกซา กวานาเร
6) รัฐโบลีวาร์ ซิวดัดโบลีวาร์ 18) รัฐซูเกร กูมานา
7) รัฐการาโบโบ วาเลนเซีย 19) รัฐตาชีรา ซันกริสโตบัล
8) รัฐโกเฮเดส ซันการ์โลส 20) รัฐตรูฮีโย ตรูฮีโย
9) รัฐเดลตาอามากูโร ตูกูปีตา 21) รัฐยารากุย ซันเฟลีเป
10) รัฐฟัลกอง โกโร 22) รัฐบาร์กัส ลาไกวย์รา
11) รัฐกวารีโก ซันฮวนเดโลสมอร์โรส 23) รัฐซูเลีย มาราไกโบ
12) รัฐลารา บาร์กีซีเมโต 24) เฟเดอรัลดีเพนเดนซีส์* ไม่ปรากฏ

นโยบายต่างประเทศ

ความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา

ความสัมพันธ์ระหว่างไทย

ความสัมพันธ์เวเนซุเอลา – ไทย
Map indicating location of เวเนซุเอลา and ไทย

เวเนซุเอลา

ไทย
  • การทูต
  • เศรษฐกิจ
  • ความร่วมมือทางวิชาการ
  • การเยือน
    • ฝ่ายไทย
    • ฝ่ายเวเนซุเอลา

กองทัพ

กองกำลังกึ่งทหาร

เศรษฐกิจ

โครงสร้างเศรษฐกิจ

  • GDP รายบุคคล : 13,200 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • อัตราการเจริญเติบโต GDP : 5.7% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • GDP แยกตามภาคการผลิต : ภาคการเกษตร 3.7%, ภาคอุตสาหกรรม 35.3%, ภาคการบริการ 61.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • อัตราการว่างงาน : 8% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • อัตราเงินเฟ้อ (Consumer Prices) : 20.9% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • ผลผลิตทางการเกษตร : ข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย ข้าว กล้วย ผัก กาแฟ เนื้อวัว เนื้อหมู นม ไข่ ปลา
  • อุตสาหกรรม : ปิโตรเลียม วัสดุก่อสร้าง อาหาร สิ่งทอ เหมืองแร่เหล็ก เหล็ก อะลูมิเนียม ชิ้นส่วนมอเตอร์ยานพาหนะ
  • อัตราการเติบโตภาคอุตสาหกรรม : 3.4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2554)
  • หนี้สาธารณะ : 49% ของ GDP (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • ดุลบัญชีเดินสะพัด : 20.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • มูลค่าการส่งออก : 96.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • สินค้าส่งออก : ปิโตรเลียม บอคไซต์และอะลูมิเนียม เหล็ก เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เกษตร สิ่งประดิษฐ์ง่ายๆ
  • ประเทศคู่ค้า (ส่งออก)ที่สำคัญ : สหรัฐอเมริกา 40.2% จีน 10.5% อินเดีย 5.5% คิวบา 4% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2554)
  • มูลค่าการนำเข้า : 56.69 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณ พ.ศ. 2555)
  • สินค้านำเข้า : วัสดุที่ยังไม่ได้แปรรูป เครื่องจักรและอุปกรณ์ อุปกรณ์การขนส่ง วัสดุก่อสร้าง
  • ประเทศคู่ค้า (นำเข้า)ที่สำคัญ : สหรัฐอเมริกา 28.6% บราซิล 10.6% จีน 15.1% (ค่าประมาณ พ.ศ. 2554)
  • สกุลเงิน : โบลีวาร์ (bolivars) , สัญลักษณ์เงิน : VEB

อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

สำหรับภาคอุตสาหกรรมการผลิต (manufacturing) (คิดเป็นร้อยละ 17 ของ GDP ของเวเนซุเอลา) ยังไม่อยู่ในสภาพแข่งขันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตเพื่อการส่งออก ยกเว้นอุตสาหกรรมการลงทุนภาครัฐที่ใช้เงินทุนสูง แม้ว่าในปี ค.ศ. 2005 มีอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 9 แต่ยังคงขาดแคลนการลงทุนจากภาคเอกชน ทั้งนี้ ผลิตผลที่สำคัญ ได้แก่ เหล็กกล้า อลูมินั่ม สิ่งทอ เสื้อผ้า เครื่องดื่ม และอาหาร สำหรับภาคอุตสาหกรรมการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 5 ของ GDP และร้อยละ 10 ของการจ้างงาน โดยผลิตผลทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ข้าว ยาสูบ ปลา ผลไม้เมืองร้อน (tropical fruits) กาแฟ โกโก้ (ในช่วงทศวรรษที่ 1960s และ 1970s เวเนซุเอลาเคยเป็นประเทศผู้ผลิตกาแฟ และโกโก้รายใหญ่ของโลก แต่ในปัจจุบันเวเนซุเอลาผลิตกาแฟเพียงประมาณร้อยละ 1 ของปริมาณกาแฟโลกและส่วนมากเพื่อการบริโภคภายในประเทศ) ทั้งนี้ เนื่องจากการหันเหความสนใจมายังอุตสาหกรรมน้ำมันที่สร้างรายได้หลักให้กับประเทศ อย่างไรก็ดี ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาได้มีความพยายามที่จะฟื้นฟูการปลูกและผลิตโกโก้ในเวเนซุเอลา (โกโก้ของเวเนซุเอลาบางชนิดได้ชื่อว่าเป็นโกโก้ที่ดีและมีกลิ่นหอมที่สุดในโลก และใช้สำหรับการผลิตช็อคโกแลตแท้ชั้นดีเท่านั้น) เวเนซุเอลายังไม่สามารถผลิตสินค้าเกษตรได้พอเพียงกับความต้องการภายในประเทศ ยังคงต้องนำเข้าสินค้าเกษตร เช่น ข้าวสาลี ข้าวโพด ถั่วเหลือง อาหารที่ทำจากถั่วเหลือง ฝ้าย ไขมันจากสัตว์ น้ำมันพืช ส่วนใหญ่นำเข้าจากสหรัฐฯ และโคลอมเบีย นอกจากนั้น การพึ่งพาการส่งออกน้ำมันทำให้เวเนซุเอลาได้รับผลกระทบจากความผันผวนทางเศรษฐกิจโลก หากราคาน้ำมันสูง นโยบายการใช้จ่ายงบประมาณจะมากขึ้นด้วย

รัฐบาลเวเนซุเอลามีนโยบายไม่เห็นด้วยกับการจัดทำ Free Trade Area of the Americas (FTAA) แต่มีนโยบายส่งเสริมบูรณาการภายในภูมิภาคอเมริกาใต้ ทั้งนี้ เวเนซุเอลาได้ลงนามในความตกลง Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of Our America and the Peoples’ Trade Agreements (ALBA) กับคิวบาและโบลิเวียเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 2005 และเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 2006 ตามลำดับ โดยหวังว่า ความตกลง ALBA จะเป็นแนวทางการรวมตัวทางเศรษฐกิจและความร่วมมือในภูมิภาคตามแนวความคิดแบบสังคมนิยมและจะเป็นทางเลือกแทนการจัดทำความตกลงการค้าเสรีของภูมิภาคอเมริกาใต้ซึ่งมีสหรัฐฯ เป็นผู้สนับสนุนที่สำคัญ

แหล่งพลังงานน้ำมัน และ ปิโตรเลียม

เศรษฐกิจพึ่งพิงการผลิตและส่งออกปิโตรเลียมนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1920 โดยคิดเป็นร้อยละ 25 ของ GDP (ปี 2548) ทั้งนี้ รายได้จากการส่งออกน้ำมันคิดเป็นกว่าร้อยละ 80 ของรายได้จากการส่งออกทั้งหมด ในอดีตเวเนซุเอลาเปิดให้มีการลงทุนจากต่างประเทศในภาคอุตสาหกรรมปิโตรเลียม แต่เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2001 รัฐบาลของประธานาธิบดี Chávez ได้ออกกฎหมาย Hydrocarbons Law ฉบับใหม่ กำหนดให้กิจการการผลิตและการจำหน่ายน้ำมันเป็นของรัฐบาลเวเนซุเอลา และเอกชนไม่สามารถถือหุ้นในกิจการดังกล่าวได้เกินกว่าร้อยละ 50 ทั้งนี้ กิจการในภาคอุตสาหกรรมน้ำมันของเวเนซุเอลาดำเนินการโดยรัฐวิสาหกิจน้ำมัน Petroleos de Venezuela (PDVSA) ทั้งนี้ เวเนซุเอลาเป็น 1 ใน 5 ประเทศผู้ก่อตั้ง OPEC ซึ่งเวเนซุเอลาตอนนี้มีปริมาณ แหล่งพลังงานน้ำมัน และ ปิโตรเลียม นํ้ามันสำรองมากกว่าซาอุดิอาราเบียและส่งออกเป็นอันดับที่ 11 ของโลก

  • ท่อขนส่งน้ำมัน และ ปิโตรเลียม

น้ำมันดิบหนักพิเศษ 992 กิโลเมตร

ก๊าช 5,369กิโลเมตร

น้ำมัน 7,607กิโลเมตร

ผลิตภัณท์ที่ได้จากการกลั่น 1,681 กิโลเมตร

ไม่ทราบ(น้ำมัน/น้ำ) 141 กิโลเมตร

การท่องเที่ยว

โครงสร้างพื้นฐาน

การคมนาคม และ โทรคมนาคม

เส้นทางคมนาคม

  • เส้นทางรถไฟ : ระยะทางรวม 682 กิโลเมตร

ระยะทางเส้นทางรถไฟความกว้างมาตรฐาน (Standard Gauge) : ความกว้าง 1.435 เมตร : 682 กิโลเมตร

  • เส้นทางรถยนต์ : รวม 96,155 กิโลเมตร

เส้นทางปรับพื้นผิวถนนแล้ว  : 32,308 กิโลเมตร

เส้นทางที่ไม่ได้ปรับพื้นผิวถนน : 63,847 กิโลเมตร

  • เส้นทางน้ำ : 7,100กิโลเมตร

หมายเหตุ:แม่น้ำโอริโนโค( Rio Orinoco )และทะเลสาบ เลคเด มาราไคโบ( Lake de Maracaibo )สามารถใช้เป็นเส้นทางลำเลียงทางน้ำไปสู่มหาสมุทรได้ แม่น้ำโอริโนโคยาว 400กิโลเมตร

  • การค้าทางทะเล : เรือสินค้า 59 ลำ, เรือต่างชาติ 12ลำ, เรือจดทะเบียนในต่างประเทศ 12ลำ
  • ท่าอากาศยาน375แห่ง

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

การศึกษา

ก่อนยุคชาเวซจะขึ้นสู่อำนาจการศึกษาในประเทศเวเนวุเอลา นั้นด้อยมาตรฐานประชากรส่วนใหญ่แทบอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้เพราะรัฐบาลในขณะนั้นมีการทุจริตคอรัปชั่นสูงมาก หลังฮูโก้ ชาเวซขึ้นสู่อำนาจชาเวซได้ทุ่มงบนโยบายการศึกษาด้วยงบจากการขายนํ้ามันมาพัฒนาการศึกษาในประเทศทำให้ชาวเวเนซุเอลาสามารถอ่านออกเขียนออกได้รู้หนังสือมากขึ้น

สาธารณสุข

ประชากรศาสตร์

ประวัติจำนวนประชากร
ปีประชากร±%
1950 5,094,000—    
1960 7,562,000+48.4%
1970 10,681,000+41.2%
1980 15,036,000+40.8%
1990 19,685,000+30.9%
2000 24,348,000+23.7%
2011 28,400,000+16.6%
[1][2]
ที่มา: United Nations

เชื้อชาติ

ชนพื้นเมือง

ภาษา

ศาสนา

วัฒนธรรม

สถาปัตยกรรม

วรรณกรรม

ดนตรี

อาหาร

สื่อสารมวลชน

วันหยุด

กีฬา

มวยสากล

ฟุตบอล

บาสเก็ตบอล

เบสบอล

รถสูตร 1

นางงามที่มีชื่อเสียงของเวเนซุเอลา

นางงามจักรวาล

นางงามจักรวาล - Miss Universe 7 คน

ปี นางงามจักรวาล รัฐ สถานที่ประกวด
2013 กาบริเอลลา อิสเลร์ รัฐกวารีโก มอสโก, รัสเซีย
2009 สเตฟาเนีย เฟอร์นานเดซ รัฐตรูฮีโย แนสซอ, บาฮามาส
2008 ดายานา เมนโดซา ไฟล์:Flag of Amazonas State.svg รัฐอามาโซนัส ญาจาง, เวียดนาม
1996 อลิเซีย มาชาโด้ รัฐยารากุย ลาสเวกัส, สหรัฐอเมริกา
1986 บาร์บารา ปาลาซิออส รัฐตรูฮีโย ปานามาซิตี, ปานามา
1981 ไอรีน ซาเอซ รัฐมีรันดา นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา
1979 มาริทซา ซายาเลโร รัฐวาร์กัส เพิร์ท, ออสเตรเลีย

นางงามโลก

นางงามโลก - Miss World 6 คน

ปี นางงามโลก รัฐ สถานที่ประกวด
2011 อีเวียน ซาร์คอส ไฟล์:Flag of Amazonas State.svg รัฐอามาโซนัส ลอนดอน, สหราชอาณาจักร
1995 แจคการีน อากีเรลา รัฐนวยวาเอสปาร์ตา ซันซิตี, แอฟริกาใต้
1991 นินิเบท ลีอัล ไฟล์:Bandezulia.gif รัฐซูเลีย แอตแลนตา, สหรัฐอเมริกา
1984 แอสตริด แคโรไลนา เฮอเรรา รัฐมีรันดา ลอนดอน, สหราชอาณาจักร
1981 พิลิน ลีออนน์ รัฐอารากวา ลอนดอน, สหราชอาณาจักร
1955 ซูซานนา ดูอิม รัฐมีรันดา ลอนดอน, สหราชอาณาจักร

นางงามนานาชาติ

นางงามนานาชาติ - Miss International 6 คน

ปี นางงามนานาชาติ รัฐ สถานที่ประกวด
2010 เอลิซาเบธ มอสควิรา รัฐตรูฮีโย เฉิงตู, จีน
2006 เดเนียลา ดิ เจียโคโม รัฐบารีนัส ปักกิ่ง, จีน
2003 กอยเซเดอร์ อาซัว รัฐการาโบโบ โตเกียว, ญี่ปุ่น
2000 วิเวียน เออดาเนตา ไฟล์:Bandezulia.gif รัฐซูเลีย โตเกียว, ญี่ปุ่น
1997 คอนซูเอโล แอดเลอร์ รัฐมีรันดา โตเกียว, ญี่ปุ่น
1985 นีนา ซิซิเลีย รัฐโมนากัส โอซากะ, ญี่ปุ่น

นางงามปฐพี

นางงามปฐพี - Miss Earth 2 คน

ปี นางงามปฐพี รัฐ สถานที่ประกวด
2013 อลิซ เฮนริช รัฐฟัลกอง มุนตินลูปาซิตี, ฟิลิปปินส์
2005 อเล็กซานดรา บราน รัฐนวยวาเอสปาร์ตา มะนิลา, ฟิลิปปินส์

นางงามจักรวาลสาวประเภทสอง

มิสอินเตอร์เนชันแนลควีน - Miss international queen

ปี มิสอินเตอร์เนชันแนลควีน รัฐ สถานที่ประกวด
2014 อิซซาเบลล่า ซานเทียโก้ ทิฟฟานี่โชว์,พัทยา, ไทย

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น